บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
ความรู้ที่ได้รับ
*** 1.คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
2.ทดสอบก่อนเรียน
- ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2.ทดสอบก่อนเรียน
- ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
- จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
- ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
- หลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
3.กิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก
- กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
- กิจกรรมศิลปะ
- กิจกรรมกมการศึกษา
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมกลางแจ้ง
- กิจกรรมเสรี
4.เกมทายตัวเลข
ตัวอย่าง
เลขอะไรไม่เข้าพวก เพราะอะไร ?
20 15 23 25
คำตอบคือ 24
* เลขทุกตัวมีสิทธิที่ไม่เข้าพวกขึ้นอยู่กับเกณฑ์ของแต่ละคนที่จะสร้างเกณฑ์นั้นขึ้นมา
5.เพื่อนๆนำเสนอโทรทัศน์ครู เลขที่ 7-9
เลขที่ 7 นางสาว จรีพร เฉลิมจาน เรื่อง เลขรอบตัวเรา
กล่าวว่า ขณะที่เด็กๆออกกำลงกายนั้น ครูจะเปิดพลงคณิตศาสตร์ให้เด็กๆคิดตามเพลงที่ครูเปิดซึ่งเด็กก็ได้รู้จักคณิตศาสตร์จากเพลงที่ครูเปิด
เลขที่ 8 นางสาว กรกช เดชประเสริฐ เรื่อง ตัวเลขกับภาษาอังกฤษ
กล่าวว่า เด็กเรียนรู้ตัวเลขจากการนับ 1- 10 เป็นภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่างเช่น แม่บอกว่ามีแตงโม 5 ลูก เพื่อนให้มาอีก 2 ลูก รวมทั้งหมด 7 ลูก
เลขที่ 9 นางสาว ปรางชมพู บุญชม เรื่อง ท๊อคอเบาว์คิดส์สอนคณิตศาสตร์ของ อนุบาล 2-3
กล่าวว่า ทำสื่อเพื่อดึงดูดเด็กให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์จากสื่อที่ครูทำ แล้วนำเอาดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปตัวเลข 3 ช่วยเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กด้วยการกล้ามเนื้อมือ กล้ามเนื้อแขน
(ครูเพิ่มเติม) มอนเตสเซอรี่ ให้เด็กนำกระดาษทรายมาตัดเป็นเลข 3 เด็กก็จะได้สัมผัสเลข 3
6.ทบทวนพัฒนาการ
7.คุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัย คือ พัฒนาการตามธรรมชาติตามวัยของเด็ก
8.ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียจต์
- ความรู้ทางด้ายกายภาพ เป็นความรู้ภายนอกที่เกิดจากการปฏิสมพันธ์กับคนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม
- ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เป็นความรู้ที่เกิดจากภายใน เกิดจากการลงมือกระทำ
9.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กเข้าใจพื้นฐานของคณิตศาสตร์
- เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบเป็น
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
10.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- การสังเกต โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเรียนรู้
- การจำแนก การแบ่งโดยหาเกณฑ์
- การเปรียบเทียบ ต้องมี 2 สิ่งขึ้นไป เด็กจะได้รู้จักลักษณะเฉพาะ
- การจัดลำดับ
- การวัด การวัดของเด็กไม่ใช่หน่วยมาตรฐานในการวัด
- การนับ เช่น การนับแบบท่องจำ คือ การนับปากเปล่า
- รูปทรงและขนาด เด็กจะเรียนรู้ตั้งแต่ก่อนเข้าโรงเรียนเพราะ รูปทรงและขนาดมีอยู่รอบตัวของเราเอง
11.คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น ตัวเลข ขนาด รูปร่าง ความเร็ว อุณหภูมิ ที่ตั้ง เป็นต้น
12.หลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
- สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
- เปิดโอกาสให้เด็กค้นพบด้วยตนเอง
- ครูวางแผนเป็นอย่างดี
- เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้
ทักษะ
*** ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
วิธีการสอน
*** 1.ใช้การบรรยาย PowerPoint
2.ใช้คำถาม การระดมความคิด
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
- ห้องเรียนสะอาด บรรยากาศดีน่าเรียน เก้าอี้ใหม่นั่งสบาย
ตัวเอง
- ให้ความร่วมมือกับครูผู้สอน ร่วมทำกิจกรรมน่าห้อง ตั้งใจฟังและจดบันทึกความรู้ขณะที่เรียน
เพื่อนในห้องรียน
- เพื่อนๆตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นร่วมกันเป็นอย่างดี
อาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์สอนสนุก ไม่เครียด อธิบายให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น
- ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
- หลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
3.กิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก
- กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
- กิจกรรมศิลปะ
- กิจกรรมกมการศึกษา
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
- กิจกรรมกลางแจ้ง
- กิจกรรมเสรี
4.เกมทายตัวเลข
ตัวอย่าง
เลขอะไรไม่เข้าพวก เพราะอะไร ?
20 15 23 25
คำตอบคือ 24
* เลขทุกตัวมีสิทธิที่ไม่เข้าพวกขึ้นอยู่กับเกณฑ์ของแต่ละคนที่จะสร้างเกณฑ์นั้นขึ้นมา
5.เพื่อนๆนำเสนอโทรทัศน์ครู เลขที่ 7-9
เลขที่ 7 นางสาว จรีพร เฉลิมจาน เรื่อง เลขรอบตัวเรา
กล่าวว่า ขณะที่เด็กๆออกกำลงกายนั้น ครูจะเปิดพลงคณิตศาสตร์ให้เด็กๆคิดตามเพลงที่ครูเปิดซึ่งเด็กก็ได้รู้จักคณิตศาสตร์จากเพลงที่ครูเปิด
เลขที่ 8 นางสาว กรกช เดชประเสริฐ เรื่อง ตัวเลขกับภาษาอังกฤษ
กล่าวว่า เด็กเรียนรู้ตัวเลขจากการนับ 1- 10 เป็นภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่างเช่น แม่บอกว่ามีแตงโม 5 ลูก เพื่อนให้มาอีก 2 ลูก รวมทั้งหมด 7 ลูก
เลขที่ 9 นางสาว ปรางชมพู บุญชม เรื่อง ท๊อคอเบาว์คิดส์สอนคณิตศาสตร์ของ อนุบาล 2-3
กล่าวว่า ทำสื่อเพื่อดึงดูดเด็กให้เด็กเรียนรู้คณิตศาสตร์จากสื่อที่ครูทำ แล้วนำเอาดินเหนียวมาปั้นเป็นรูปตัวเลข 3 ช่วยเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กด้วยการกล้ามเนื้อมือ กล้ามเนื้อแขน
(ครูเพิ่มเติม) มอนเตสเซอรี่ ให้เด็กนำกระดาษทรายมาตัดเป็นเลข 3 เด็กก็จะได้สัมผัสเลข 3
6.ทบทวนพัฒนาการ
7.คุณลักษณะตามวัยของเด็กปฐมวัย คือ พัฒนาการตามธรรมชาติตามวัยของเด็ก
8.ความรู้ด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียจต์
- ความรู้ทางด้ายกายภาพ เป็นความรู้ภายนอกที่เกิดจากการปฏิสมพันธ์กับคนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม
- ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์ เป็นความรู้ที่เกิดจากภายใน เกิดจากการลงมือกระทำ
9.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- เพื่อให้เด็กเข้าใจพื้นฐานของคณิตศาสตร์
- เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบเป็น
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
10.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- การสังเกต โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเรียนรู้
- การจำแนก การแบ่งโดยหาเกณฑ์
- การเปรียบเทียบ ต้องมี 2 สิ่งขึ้นไป เด็กจะได้รู้จักลักษณะเฉพาะ
- การจัดลำดับ
- การวัด การวัดของเด็กไม่ใช่หน่วยมาตรฐานในการวัด
- การนับ เช่น การนับแบบท่องจำ คือ การนับปากเปล่า
- รูปทรงและขนาด เด็กจะเรียนรู้ตั้งแต่ก่อนเข้าโรงเรียนเพราะ รูปทรงและขนาดมีอยู่รอบตัวของเราเอง
11.คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น ตัวเลข ขนาด รูปร่าง ความเร็ว อุณหภูมิ ที่ตั้ง เป็นต้น
12.หลักการสอนคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
- สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
- เปิดโอกาสให้เด็กค้นพบด้วยตนเอง
- ครูวางแผนเป็นอย่างดี
- เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้
ทักษะ
*** ทำแบบทดสอบก่อนเรียน
วิธีการสอน
*** 1.ใช้การบรรยาย PowerPoint
2.ใช้คำถาม การระดมความคิด
ประเมิน
สภาพห้องเรียน
- ห้องเรียนสะอาด บรรยากาศดีน่าเรียน เก้าอี้ใหม่นั่งสบาย
ตัวเอง
- ให้ความร่วมมือกับครูผู้สอน ร่วมทำกิจกรรมน่าห้อง ตั้งใจฟังและจดบันทึกความรู้ขณะที่เรียน
เพื่อนในห้องรียน
- เพื่อนๆตั้งใจเรียน ช่วยกันตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นร่วมกันเป็นอย่างดี
อาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์สอนสนุก ไม่เครียด อธิบายให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น